EP.6 ทักษะการตั้งคำถาม
"การตั้งคำถาม" เป็นกระบวนการสำคัญของกระบวนกร อย่างไร? การใช้คำถามเพื่อให้ผู้เข้าร่วมฯ
"ใคร่ครวญ สะท้อนคิด" มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่างไร?
EP.นี้จะพาทุกท่านไปพบกับช่วงสุดท้ายของการจัดกิจกรรม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม / ผู้ถูกคุมประพฤติ หรือผู้เรียน ได้เกิดการตั้งคำถามเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาตั้งแต่การเข้าร่วมกระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้น วิดิโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของสื่อการเรียนรู้ (E-learning) ในชุด "5 หัวใจสำคัญการจัดกระบวนการกลุ่มคุมประพฤติเมาแล้วขับ" เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานคุมประพฤติที่เกี่ยวข้องในการจัดกระบวนการกลุ่ม เพื่อการเปลี่ยนแปลง แก้ไข ฟื้นฟูพฤติกรรม เมาแล้วขับ ได้มีแนวทางในการจัดกระบวนการที่ "เข้าใจ" ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ เพื่อนำไปสู่การ "เปลี่ยนแปลง" ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ถูกคุมประพฤติได้อย่างเหมาะสม
นอกจากนั้นวิดิโอชุดนี้ยังเหมาะสำหรับนักจัดกระบวนการ(Facilitator)ที่ต้องการนำกระบวนการ เทคนิค กิจกรรม ไปปรับใช้กับการจัดกระบวนการเรียนรู้ในประเด็นอื่นๆได้อีกด้วย
More videos :
EP.1 การทำกระบวนการในสถานการณ์โควิด19
Link : https://youtu.be/uXnE13u5pbw
EP.2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Paticipatory Learning) : "5 หัวใจสำคัญการจัดกระบวนการกลุ่มคุมประพฤติเมาแล้วขับ"
Link : https://youtu.be/pg1bm9wmb4M
EP.3 "กระบวนกร" คือใคร? สำคัญอย่างไร? : "5 หัวใจสำคัญการจัดกระบวนการกลุ่มคุมประพฤติเมาแล้วขับ"
Link : https://youtu.be/3AWoPeY7d2M
EP.4 ทักษะการสร้าง "พื้นที่ปลอดภัย" : "5 หัวใจสำคัญการจัดกระบวนการกลุ่มคุมประพฤติเมาแล้วขับ"
Link : https://youtu.be/6OGu7d4LRb8
EP.5 ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้ง : "5 หัวใจสำคัญการจัดกระบวนการกลุ่มคุมประพฤติเมาแล้วขับ"
Link : https://youtu.be/ZelOgT9yPW4
EP.7 ทักษะการจับประเด็น : "5 หัวใจสำคัญการจัดกระบวนการกลุ่มคุมประพฤติเมาแล้วขับ"
Link : https://youtu.be/NGJVpwsCRQ0
วิดิโอชุดนี้จัดทำขึ้นภายใต้การสนับสนุนของ ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน(ศวปถ.) มูลนิธินโยบายถนนปลอดภัย(มนป.) กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ร่วมกับ มูลนิธิสื่อชาวบ้าน(มะขามป้อม) ติดตามข่าวสารของศูนย์วิชาการฯได้ที่ Facebok Fanpage : https://www.facebook.com/Roadsafetygr...